อาจารย์ ดร.สิทธิพร รอดปังหวาน

อาจารย์กนกกุล เพชรอุทัย

ประธานสาขาวิชา


อาจารย์ ดร.ทวิรัฐ สองเมือง

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีข้อมูลพื้นฐานของหลักสูตร
ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหลักสูตรที่ได้รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563 และได้รับการรับทราบจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2563 และเปิดรับนักศึกษาเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 124 หน่วยกิต รูปแบบหลักสูตรระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี ในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรจะมุ่งเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
นักศึกษาชั้นปีที่ 11.	มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีด้านนวัตกรรมสังคม
2.	มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รู้จักตนเอง รู้หน้าที่ทางศีลธรรม อยู่ร่วมกับสังคมอย่างปกติสุข
3.	มีภาวะผู้นำสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ปรับตัวและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี
4.	มีความสนใจใฝ่รู้ เป็นนักสืบเสาะค้นคว้าข้อมูลเพื่อสร้างนวัตกรรมทางสังคม
นักศึกษาชั้นปี 2
1.	เป็นนักคิดวิเคราะห์ มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เชิงวิชาการ2.	สามารถคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์3.	มีความเชี่ยวชาญในเรื่องชุมชนที่อาศัยอยู่เป็นอย่างดี สามารถช่วยเหลือชุมชนได้ มีวิธีคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน4.	มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
นักศึกษาชั้นปีที่ 3
1.	มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนได้
2.	มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล หาสาเหตุของปัญหา และสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ที่นำไปสู่การคิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ3.	มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและรู้เท่าทันสื่อที่มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่ออินเทอร์เน็ตจำนวนมาก4.	สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ 21นักศึกษาชั้นปีที่ 41.	เป็นนวัตกรทางสังคม (Innovator)
2.	มีทักษะในการทำวิจัยด้านนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
3.	สามารถนำเสนอและเผยแพร่งานวิจัยด้านนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ4.	รู้จักการทำและใช้ฐานข้อมูลของชุมชน (Big Data) และบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
5.	มีทักษะการทำงานเป็นทีม มีความสามารถในการประสานงานกับผู้อื่นในการใช้กระบวนการแก้ปัญหาสังคมแบบมีส่วนร่วมในชุมชนเป็นผู้นำในการปฏิบัติงานปรัชญาของหลักสูตร
ความรู้ทางนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นการเรียนรู้ปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หลักของการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นแนวทางแก้ปัญหา สร้างสรรค์ และปฏิรูปสังคม ชุมชนท้องถิ่น ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุขโครงสร้างการบริหาร
1	ดร.ทวิรัฐ สองเมืองประธานหลักสูตร	ฝ่ายบริหาร
-การบริหารงานหลักสูตรกำกับ ติดตามงานในหลักสูตร
-ตรวจสอบแผนการเรียน
-แผนงานและงบประมาณ-งานบริการวิชาการ
-ประชาสัมพันธ์หลักสูตร Road Show
2	ดร. นรา พงษ์พานิชกรรมการ	ฝ่ายวิจัย วางแผน และพัฒนา
-จัดแผนงาน ดำเนินงานตามแผนโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิจัย พัฒนาอาจารย์และบัณฑิต
-ดูแลประชาสัมพันธ์ทุนวิจัย
-งานประกันคุณภาพการศึกษา
3	ดร. สิทธิพร รอดปังหวานกรรมการ	ฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา
-ติดตามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
-จัดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
4	อาจารย์ธิติ พานวัน	กรรมการฝ่ายบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
-จัดกิจกรรมและบริการวิชาการตามคำร้องขอของหน่วยงาน-ดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการงบประมาณของหลักสูตร
-กำกับและติดตาม มคอ.3-มคอ.7
5	อาจารย์กนกกุล เพชรอุทัย	กรรมการและเลขานุการ	ฝ่ายพัฒนานักศึกษา
-ดูแลให้คำปรึกษานักศึกษา
-ประชาสัมพันธ์ทุนการศึกษา
-ดำเนินโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
-ประสานงานกับฝ่ายพัฒนานักศึกษาของคณะและมหาวิทยาลัย
-จัดทำวาระการประชุม
-เรื่องอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานหลักสูตร

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

 

ข้อมูลพื้นฐานของหลักสูตร

ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน              เป็นหลักสูตรที่ได้รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563 และได้รับการรับทราบจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2563 และเปิดรับนักศึกษาเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 124 หน่วยกิต รูปแบบหลักสูตรระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี ในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรจะมุ่งเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้

นักศึกษาชั้นปีที่ 1

  1. มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีด้านนวัตกรรมสังคม
  2. มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รู้จักตนเอง รู้หน้าที่ทางศีลธรรม อยู่ร่วมกับสังคมอย่างปกติสุข
  3. มีภาวะผู้นำสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ปรับตัวและดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี
  4. มีความสนใจใฝ่รู้ เป็นนักสืบเสาะค้นคว้าข้อมูลเพื่อสร้างนวัตกรรมทางสังคม

นักศึกษาชั้นปี 2

  1. เป็นนักคิดวิเคราะห์ มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เชิงวิชาการ
  2. สามารถคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
  3. มีความเชี่ยวชาญในเรื่องชุมชนที่อาศัยอยู่เป็นอย่างดี สามารถช่วยเหลือชุมชนได้ มีวิธีคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  4. มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม

นักศึกษาชั้นปีที่ 3

  1. มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนได้
  2. มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล หาสาเหตุของปัญหา และสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ที่นำไปสู่การคิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ
  3. มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและรู้เท่าทันสื่อที่มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่ออินเทอร์เน็ตจำนวนมาก
  4. สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ 21

นักศึกษาชั้นปีที่ 4

  1. เป็นนวัตกรทางสังคม (Innovator)
  2. มีทักษะในการทำวิจัยด้านนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  3. สามารถนำเสนอและเผยแพร่งานวิจัยด้านนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  4. รู้จักการทำและใช้ฐานข้อมูลของชุมชน (Big Data) และบูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  5. มีทักษะการทำงานเป็นทีม มีความสามารถในการประสานงานกับผู้อื่นในการใช้กระบวนการแก้ปัญหาสังคมแบบมีส่วนร่วมในชุมชนเป็นผู้นำในการปฏิบัติงาน

 

ปรัชญาของหลักสูตร

ความรู้ทางนวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นการเรียนรู้ปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใช้หลักของการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นแนวทางแก้ปัญหา สร้างสรรค์ และปฏิรูปสังคม ชุมชนท้องถิ่น ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข  

 

โครงสร้างการบริหาร

ลำดับ

ชื่อ

ตำแหน่ง

หน้าที่/ความรับผิดชอบ

1

ดร.ทวิรัฐ สองเมือง

 

ประธานหลักสูตร

ฝ่ายบริหาร

-การบริหารงานหลักสูตรกำกับ ติดตามงานในหลักสูตร

-ตรวจสอบแผนการเรียน

-แผนงานและงบประมาณ

-งานบริการวิชาการ

-ประชาสัมพันธ์หลักสูตร Road Show

2

ดร. นรา พงษ์พานิช

 

กรรมการ

ฝ่ายวิจัย วางแผน และพัฒนา

-จัดแผนงาน ดำเนินงานตามแผนโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิจัย พัฒนาอาจารย์และบัณฑิต

-ดูแลประชาสัมพันธ์ทุนวิจัย

-งานประกันคุณภาพการศึกษา

3

ดร. สิทธิพร รอดปังหวาน

 

กรรมการ

ฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา

-ติดตามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต และความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

-จัดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์

4

อาจารย์ธิติ พานวัน

กรรมการ

ฝ่ายบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

-จัดกิจกรรมและบริการวิชาการตามคำร้องขอของหน่วยงาน

-ดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการงบประมาณของหลักสูตร

-กำกับและติดตาม มคอ.3-มคอ.7

5

อาจารย์กนกกุล เพชรอุทัย

กรรมการและเลขานุการ

ฝ่ายพัฒนานักศึกษา

-ดูแลให้คำปรึกษานักศึกษา

-ประชาสัมพันธ์ทุนการศึกษา

-ดำเนินโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา

-ประสานงานกับฝ่ายพัฒนานักศึกษาของคณะและมหาวิทยาลัย

-จัดทำวาระการประชุม

-เรื่องอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานหลักสูตร

  

จำนวนนักศึกษา

ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีนักศึกษาทั้งหมดจำนวน 67 คน จำแนกเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 21 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 46 คน

 

ข้อมูลงบประมาณ

งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)

 

   รายละเอียดรายรับ

ปีงบประมาณ

2563

2564

2565

2566

2567

1. เงินรายได้

712,000

1,424,000

2,136,000

2,848,000

2,848,000

1.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา

712,000

1,424,000

2,136,000

2,848,000

2,848,000

2. งบประมาณแผ่นดิน

1,547,720

1,640,349

1,735,403

1,832,979

1,901,178

    2.1 เงินอุดหนุน (พนักงานมหาวิทยาลัย) 

1,515,720

1,576,349

1,639,403

1,704,979

1,773,178

    2.2 ค่าวัสดุการศึกษา

32,000

64,000

96,000

128,000

128,000

รวมรายรับ

2,259,720

3,064,349

3,871,403

4,680,979

4,749,178

 

 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย : บาท)

 

รายละเอียดรายจ่าย

ปีงบประมาณ

2563

2564

2565

2566

2567

งบบุคลากร

1,972,800

2,051,712

2,133,780

2,219,132

2,307,897

1. เงินอุดหนุน

(พนักงานมหาวิทยาลัย)

1,515,720

1,576,349

1,639,403

1,704,979

1,773,178

2. เงินเดือนบุคลากรเงินรายได้

457,080

475,363

494,378

514,153

534,719

งบดำเนินงาน

100,000

200,000

200,000

250,000

250,000

1. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน

100,000

200,000

200,000

250,000

250,000

2. ทุนการศึกษา

 

 

 

 

 

งบลงทุน

50,000

100,000

150,000

200,000

200,000

1. ค่าครุภัณฑ์

50,000

100,000

150,000

200,000

200,000

2. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

 

 

 

 

 

งบรายจ่ายอื่นๆ

 

 

 

 

 

รวม

2,122,800

2,351,712

2,483,780

2,669,132

2,757,897

ค่าใช้จ่าย/หัว

53,070

29,396

20,698

16,682

17,237

ค่าใช้จ่าย/หัว/ปี

27,417

 

หมวดที่ 1  ข้อมูลทั่วไป

 

รหัสหลักสูตร รหัสหลักสูตร 25491731107116

ประเภท วิชาการ

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (รายละเอียดตารางที่ 1.1-1)

(มีภาระหน้าที่ในการบริหาร พัฒนาหลักสูตร และควบคุมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร)

 

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตาม มคอ.2

(คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ)

ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปัจจุบัน(คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ)

เหตุผลในการเปลี่ยนแปลง

และหลักฐานการอนุมัติ

(ระบุครั้งที่/วันที่ผ่านการอนุมัติสภามหาวิทยาลัย)

1. นายทวิรัฐ สองเมือง

คุณวุฒิ: ปรด. (ประวัติศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

1. นายทวิรัฐ สองเมือง

คุณวุฒิ: ปรด. (ประวัติศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

2. นายนรา พงษ์พานิช

คุณวุฒิ: ปรด.(การวางผังเมืองและภูมิทัศน์ในชนบท)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

2. นายนรา พงษ์พานิช

คุณวุฒิ: ปรด.(การวางแผนเมือง-ชนบทและภูมิสถาปัตยกรรม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: ผู้ช่วยศาตรจารย์

 

3. นายสิทธิพร รอดปังหวาน

คุณวุฒิ: ปรด.(การพัฒนาที่ยั่งยืน)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

3. นายสิทธิพร รอดปังหวาน

คุณวุฒิ: ปรด.(การพัฒนาที่ยั่งยืน)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

4. นายธิติ พานวัน

คุณวุฒิ: ศน.ม. สังคมวิทยา

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

4. นายธิติ พานวัน

คุณวุฒิ: ศน.ม. สังคมวิทยา

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

5. นางสาวกนกกุล เพชรอุทัย

คุณวุฒิ: ศศม.(การบริหารและการพัฒนาสังคม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

5. นางสาวกนกกุล เพชรอุทัย

คุณวุฒิ: ศศม.(การบริหารและการพัฒนาสังคม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

  

อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอนของหลักสูตร และทำหน้าที่สอนและค้นคว้า วิจัย ในสาขาวิชาดังกล่าว (รายละเอียดตารางที่ 1.1-2)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร ตาม มคอ.2

(คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ)

อาจารย์ประจำหลักสูตรปัจจุบัน(คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ)

เหตุผลในการเปลี่ยนแปลง

และหลักฐานการอนุมัติ

(ระบุครั้งที่/วันที่ผ่านการอนุมัติสภามหาวิทยาลัย)

1. นายทวิรัฐ สองเมือง

คุณวุฒิ: ปรด. (ประวัติศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

1. นายทวิรัฐ สองเมือง

คุณวุฒิ: ปรด. (ประวัติศาสตร์)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

2. นายนรา พงษ์พานิช

คุณวุฒิ: ปรด.(การวางผังเมืองและภูมิทัศน์ในชนบท)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

2. นายนรา พงษ์พานิช

คุณวุฒิ: ปรด.(การวางแผนเมือง-ชนบทและภูมิสถาปัตยกรรม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 

3. นายสิทธิพร รอดปังหวาน

คุณวุฒิ: ปรด.(การพัฒนาที่ยั่งยืน)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

3. นายสิทธิพร รอดปังหวาน

คุณวุฒิ: ปรด.(การพัฒนาที่ยั่งยืน)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

4. นายธิติ พานวัน

คุณวุฒิ: ศน.ม. สังคมวิทยา

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

4. นายธิติ พานวัน

คุณวุฒิ: ศน.ม. สังคมวิทยา

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

 

5. นางสาวกนกกุล เพชรอุทัย

คุณวุฒิ: ศศม.(การบริหารและการพัฒนาสังคม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์

5. นางสาวกนกกุล เพชรอุทัย

คุณวุฒิ: ศศม.(การบริหารและการพัฒนาสังคม)

ตำแหน่งทางวิชาการ: อาจารย์