1. ประวัติ
ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรา พงษ์พานิช
ชื่อ-สกุล (ภาษาอังกฤษ) Assistant Professor Dr.Nara Phongphanich
ที่อยู่ปัจุบัน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เลขที่ 272 หมู่ 9 ถ.สุราษฎร์-นาสาร ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84100
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 081-187-7339
E-mail: pnarascape@gmail.com
Id Line: 0811877339
2. ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี/โท/เอก หรืออื่นๆ)
คุณวุฒิ | สาขา | สถาบันการศึกษา/ประเทศ | จบการศึกษา (พ.ศ./ค.ศ.) |
ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) | ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | 22 พ.ค. 2545 |
การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (ผ.ม.) | การออกแบบชุมชนเมือง | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | 20 พ.ค. 2552 |
Doctor of Philosophy (Ph. D.) | Urban-Rural Planning and Landscape Architecture | National Pingtung University of Science and Technology, Taiwan | 21 August 2014 |
3. ประวัติการทำงาน
ตำแหน่ง | สถานที่ทำงาน | |
ภูมิสถาปนิก | บริษัท พี แลนด์สเคป จำกัด 59/3 ซอยสุขุมวิท 39 แขวง คลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 | |
พนักงานราชการ (ภูมิสถาปนิก) | สำนักสถาปัตยกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง กรุงเทพฯ | |
ข้าราชการ ระดับ 4 (ภูมิสถาปนิก) | สำนักสำรวจและออกแบบ กรมทางหลวงชนบท กรุงเทพฯ | |
พนักงานมหาวิทยาลัย (อาจารย์) | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร อำเภอละแม จังหวัดชุมพร | |
พนักงานมหาวิทยาลัย (อาจารย์) | มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
4. สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- การออกแบบวางผังและจัดทำแผนแม่บทชุมชนเมือง-ชนบทอย่างยั่งยืน
- การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การออกแบบวางผังแม่บทภูมิสถาปัตยกรรม
- การวางแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน
- การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
- การอนุรักษ์และพัฒนาย่านชุมชนเมือง-ชนบทอย่างยั่งยืน
- การวิจัยและพัฒนาด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
5. งานคอมพิวเตอร์ที่เชี่ยวชาญ
- งานเอกสารสำนักงานทั่วไป โดยใช้โปรแกรม Microsoft Office
- งานออกแบบสื่อโฆษณา สิ่งพิมพ์ และสื่อดิจิทัลต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop และโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะ
- งานเขียนแบบและ Computer Graphic โดยใช้โปรแกรม Auto CAD, 3D Max, Sketch Up
- งานประเมินและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytic Hierarchy Process) โดยใช้โปรแกรม Expert Choice และ SPSS
6. ข้อมูลใบประกอบวิชาชีพ/ที่ปรึกษา (แก้ไขชื่อหัวข้อใหม่ตามนี้)
ลำดับ | ชื่อวิชาชีพ | ช่วงเวลา |
1 | ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม สาขาภูมิสถาปัตยกรรม ระดับ ภาคีสถาปนิก | 27 ธ.ค. 2564 – 26 ธ.ค. 2569 |
2 | หนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนที่ปรึกษา ประเภทนิติบุคคล (มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี) หมายเลข 4375 ระดับ 1 สาขาความเชี่ยวชาญ : 1) (RE) การวิจัยและการประเมินผล – ความเชี่ยวชาญ คือ (U700) การติดตามผล/การประเมินผล/การวิจัย – ตำแหน่งงาน คือ นักวิจัยและวิทยากร – หน้าที่ความรับผิดชอบ คือ ดำเนินงานวิจัยและเป็นวิทยากรเกี่ยวกับการพัฒนาท้องถิ่น ให้หน่วยภาครัฐและเอกชน 2) (UD) การพัฒนาเมือง – ความเชี่ยวชาญ คือ (L104) การวางแผนพัฒนายุทธศาสตร์รวมทั้งการวางผังแม่บท – ตำแหน่งงาน คือ นักวิจัยและวิทยากร – หน้าที่ความรับผิดชอบ คือ ดำเนินงานสำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับการวางแผนพัฒนายุทธศาสตร์รวมทั้งการวางผังแม่บท ให้หน่วยภาครัฐและเอกชน 3) (AG) การเกษตรและการพัฒนาชนบท – ความเชี่ยวชาญ คือ (A102) การวางแผนพัฒนาชนบท – ตำแหน่งงาน คือ นักวิจัยและวิทยากร – หน้าที่ความรับผิดชอบ คือ การดำเนินงานสำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาชนบท ให้หน่วยภาครัฐและเอกชน | ออกให้ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2565 |
7. ตำแหน่งงานบริหารในมหาวิทยาลัย
ตำแหน่ง | สังกัด | ปี พ.ศ. |
รองผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการและวิจัย | สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | 2562 – 2563 |
ผู้อำนวยการ | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | 2563 – ปัจจุบัน |
8. ผลงานในตำแหน่งทางวิชาการ (เขียนแบบบรรณานุกรม)
นรา พงษ์พานิช. (มกราคม 2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการบริหารงานพัฒนาชุมชน. สุราษฎร์ธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
9. ผลงานบทความวิชาการ/บทความวิจัย ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ (เขียนแบบบรรณานุกรม)
ภาษาอังกฤษ
Phongphanich, N., Guan-Guay, M., & Tsair-Bor, Y. (2012). A Study of Factors Influencing Lodging Selection of International Tourists in Ban Had Rin Community, Koh Phangan, Thailand. Proceeding of the 2012 IEEE 3rd International Conference on Emergency Management and management Science (pp. 891-895). Beijing: Beijing University of Technology.
Phongphanich, N., Guan-Guay, M., & Tsair-Bor, Y. (2013). Impacts of Tourism Development in Ban Had Rin Community at Koh Phangan Island, Thailand: A Sustainable Tourism Perspective. Advanced Materials Research, 616-618, 1227-1230.
Phongphanich, N., Guan-Guay, M., & Tsair-Bor, Y. (2013). Design Guidelines for Sustainable Development on Coastal Recreation Area and Community in Thailand. Proceeding of the 2013 14th Symposium on Sustainable Development Management (pp. 1-10). Pingtung: National Pingtung University of Science and Technology.
Phongphanich, N., Guan-Guay, M., & Tsair-Bor, Y. (2013). Climate Change Impacts on Agricultural Products in Thailand: A Case Study of Thai Rice at the Chao Phraya River Basin. APCBEE Procedia, 1-5.
Bangsuk, J., Phongphanich, N., & Cheng-Fa, T. (2014). Applying the principles for livable communities. American Journal of Environmental Protection, 3(4), 179-184.
Phongphanich, N., Guan-Guay, M., & Tsair-Bor, Y. (2014). Applying Environmental Management Policy for Sustainable Development of Coastal Tourism in Thailand. International Journal of Environmental Protection and Policy, 2(1), 19-23.
Phongphanich, N. (2016). Evaluating the Global Walkability Index by Using the Analytic Hierarchy Process (AHP) for the Development of Appropriate Sidewalks in Urban Areas of Thailand. Proceeding of the Tourism and Hospitality International Conference (pp. 186-190). Surat Thani: Prince of Songkla University, Surat Thani Campus.
Phongphanich, N. (2020). Study and Development of Phum Riang Sub-district’s Cultural Tourism, Chaiya District, Surat Thani Province. Proceeding of the 10th International Conference on Art and Culture Network (pp. 55-62).Kamphaeng Phet: Kamphaeng Phet Rajabhat University.
ภาษาไทย
นรา พงษ์พานิช, และจันทวรรณ บางศุข. (2558). การศึกษาตัวชี้วัดของรูปแบบและมาตรฐานทางเท้าเพื่อการพัฒนาทางเท้าที่เหมาะสมในพื้นที่เมืองของประเทศไทย. การประชุมวิชาการการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3 : ความปลอดภัย (น. 50-27). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
นรา พงษ์พานิช. (2558). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยบนทางเท้าของคนเดินเท้าในเขตเมือง: กรณีศึกษาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. การประชุมวิชาการการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3 : ความปลอดภัย (น. 176-183). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
นรา พงษ์พานิช, สุธี ศรีฟ้า, และฉัตรชัย พงศ์พิชิตชัย. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางผังชุมชนเพื่อการฟื้นฟูย่านชุมชนเก่า : กรณีศึกษาบ้านเกาะแรต อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 12 (น. 279-286). สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ดลลักษณ์ พงษ์พานิช, นรา พงษ์พานิช, ณาตยาณี พรมเมือง, และกรชุลี คณะนา. (2561). การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชันเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 14 (น. 199-208). สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ดลลักษณ์ พงษ์พานิช, และนรา พงษ์พานิช. (2562). แอปพลิเคชันเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร [จุลสาร]. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นรา พงษ์พานิช. (2562). คนเมืองใน ในเมืองดอนสัก [จุลสาร]. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นรา พงษ์พานิช, ธีรพันธุ์ จันทร์เจริญ, และนิทัศน์ ไหมจุ้ย. (2562). ตามรอยอารยธรรมศรีวิชัยที่สุราษฎร์ธานี [จุลสาร]. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นรา พงษ์พานิช, สุธี ศรีฟ้า, และฉัตรชัย พงศ์พิชิตชัย. (2563). แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟูย่านชุมชนเก่าบนเกาะขนาดเล็ก : กรณีศึกษาชุมชนเกาะแรต อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 40(4), 141-169.
นรา พงษ์พานิช, อำนาจ รักษาพล, เบญจมาศ ณ ทองแก้ว, ภัทร์ธนกัลย์ เตี่ยไพบูลย์, อำพล ธานีครุฑ, วิจิตร พันธุ์พืช, อรอนงค์ เย็นบางสะพาน, พรศรี รัตนราช, และสถาพร หิ้นเตี้ยน. (2564). การจัดทำผังชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนเกาะพิทักษ์ จังหวัดชุมพร. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 9(3), 352-365.
นรา พงษ์พานิช. (2565). ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวประมงพื้นบ้านตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบ้านปากดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารรัชต์ภาคย์ สถาบันรัชต์ภาคย์, 16(45).
นรา พงษ์พานิช. (2565). ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวประมงพื้นบ้านตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบ้านปากดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารรัชต์ภาคย์ สถาบันรัชต์ภาคย์, 16(45), 1-15.
นรา พงษ์พานิช. (2566). การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลีเล็ด อำเภอพุนพิน และองค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนาก อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 15(2).
นรา พงษ์พานิช. (2566). แนวทางการจัดการภัยพิบัติของชุมชนชายฝั่งรอบอ่าวบ้านดอนจังหวัดสุราษฎร์ธานี. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 29(2).
10. ผลงานด้านการบริการวิชาการ (จากหน่วยงานภายนอก)
ตำแหน่ง | ประเภทของกิจกรรมและสถานที่ | วัน/เดือน/ปี |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โครงการออกแบบและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำพุร้อนธรรมชาติ บ้านปากด่าน ตำบลเสม็ด อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี) | 16 มี.ค. 2558 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | ตรวจสอบเครื่องมือวิจัย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร | 24 พ.ย. 2558 |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โครงการออกแบบสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร (โดย บริษัท รักษ์ไม้ใหญ่ วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด) | 19 พ.ย. 2558 |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โครงการออกแบบสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา ตำบลมาบอำมฤต อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร (โดย บริษัท รักษ์ไม้ใหญ่ วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด) | 20 เม.ย. 2559 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | พิจารณาตรวจและประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | 26 ส.ค. 2559 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | คณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกจังหวัดสุราษฎร์ธานี (อจร.สฎ.) (โดย คำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 4302/2560) | 12 ต.ค. 2560 |
ผู้เชี่ยวชาญ | ขอความอนุเคราะห์บุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านภูมิสถาปัตยกรรม และการออกแบบ (โดย มูลนิธิแก้มลิงหนองใหญ่ ตำบลบางลึก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร) | 27 ก.พ. 2561 |
ที่ปรึกษา | ขอความอนุเคราะห์บุคลากรเป็นที่ปรึกษา (โดย สมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร หรือ กทท.ดชช.ชพ.) | 27 มิ.ย. 2561 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | คณะทำงานการขับเคลื่อนนโยบายและแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย คำสั่งคณะอนุกรรมการด้านนโยบายและแผนการพัฒนาที่อยู่อาศัย ที่ 3/2561) | 6 ก.ค. 2561 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | ตรวจสอบบทความวิจัยและบทความวิชาการวารสารสังคมศาสตร์ Social Science Asia มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | ต.ค. 2561 |
วิทยากร | โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลีเล็ด อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)) | 29 ม.ค. 2562 |
วิทยากร | โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานด้านแผนและงบประมาณจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ บ้านถ้ำผึ้ง ตำบลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย สำนักงานจังหวัด กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ธานี) | 23-24 พ.ค. 2562 |
คณะทำงาน | คณะทำงานจัดทำแผนงานด้านที่อยู่อาศัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย คำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 8686/2562) | 29 ต.ค. 2562 |
วิทยากร | โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตสู่การเป็นนักวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสังคมในศตวรรษที่ 21 : กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและนักพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | 20 พ.ย. 2562 |
กรรมการ | คณะกรรมการดำเนินงานและประสานงานมูลนิธิเดโช สวนานนท์-ราชภัฏ | 22 ม.ค. 2563 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | คณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ) | 7 ก.พ. 2563 |
วิทยากร | โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพพนักงานครูเทศบาลและบุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรการพัฒนาทักษะการใช้สื่อการสอนออนไลน์ ณ โรงแรมวังใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี) | 16-29 มิ.ย. 2563 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | กิจกรรมการติดตามผลการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนาภาครัฐร่วมเอกชนในเชิงพาณิชย์ (โดย เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคใต้ตอนบน อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) | 29 เม.ย. 2564 |
กรรมการ | คณะกรรมการเครือข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ : ภาคใต้ (โดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : วช) | 21 ต.ค. 2564 |
วิทยากร | วิทยากรให้ความรู้เรื่อง “การจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน” (โดย โรงเรียนวัดบ้านส้อง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3) | 27 ก.ย. 2564 |
กรรมการ | คณะทำงานจัดทำคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานการเปิดพื้นที่ท่องเที่ยว อำเภอพนม – บ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย คำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 6813/2564) | 30 ก.ย. 2564 |
คณะทำงาน | คณะทำงานจัดทำแผนงานด้านที่อยู่อาศัยจังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย คำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 7645/2564 | 8 พ.ย. 2564 |
ผู้ทรงคุณวุฒิ | ผู้ทรงคุณวุฒิและพิจารณาบทความวิจัย (จำนวน 2 บทความ) ในการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565 (โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม) | 30 ธ.ค. 2564 |
ที่ปรึกษา | ที่ปรึกษาโครงการศึกษาความเหมาะสมในการบริหารการจัดการพื้นที่บึงขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดย สำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี สัญญาเลขที่ 62/2565) | 2 มี.ค. 2565 |
วิทยากร | โครงการอบรมฝึกทักษะพื้นฐานการออกแบบภูมิทัศน์ โรงเรียนสีเขียว (โครงการการงานอาชีพตามวิถีชีวิต) โรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | 14, 15, 21 มี.ค. 2565 |
กรรมการ | คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินการประกวด Product Champion ในระหว่างเดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม 2565 (โดย สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน.) | 5 เม.ย. 2565 |
วิทยากร | เสวนาพิเศษ “สุราษฎร์ธานีทำอย่างไรให้เป็นเมืองอัจฉริยะ” (Surat Thani Smart City) ระหว่างวันที่ 19-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมริมน้ำ ชั้น 1 โรงแรมวังใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โดยสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี และบริษัท ซิเคียวริตี้ ซิสเต็มส์ มีเดีย จำกัด) 29 เม.ย. 2565 | 29 เม.ย. 2565 |
11. ผลงาน/ประสบการณ์ด้านการวิจัย
ลำดับ | ตำแหน่ง | ชื่อเรื่อง | แหล่งทุน | ระยะเวลา |
1 | หัวหน้าโครงการ | การศึกษาตัวชี้วัดของรูปแบบและมาตรฐานทางเท้าที่เหมาะสมในพื้นที่เมือง | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) | 16 ส.ค. 2556 – 30 พ.ค. 2557 |
2 | หัวหน้าโครงการ | การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยบนทางเท้าของคนเดินเท้าในเขตเมือง : กรณีศึกษาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) | 1 มิ.ย. 2557 – 31 มี.ค. 2558 |
3 | หัวหน้าโครงการ | การออกแบบภูมิทัศน์เพื่อการพัฒนาสภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในพื้นที่ชายฝั่งทะเลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | 16 มีนาคม พ.ศ. 2558 – 15 กุมภาพันธ์ 2559 |
4 | หัวหน้าโครงการ | แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟูย่านชุมชนเก่าบนเกาะขนาดเล็ก กรณีศึกษาชุมชนเกาะแรต อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ | 1 มิ.ย. 2558 – 31 มี.ค. 2559 |
5 | หัวหน้าโครงการ | การจัดทำผังชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนเกาะพิทักษ์ จังหวัดชุมพร | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | 1 พ.ย. 2558 – 31 ต.ค. 2559 |
6 | หัวหน้าโครงการ | แนวทางการจัดการภัยพิบัติของชุมชนชายฝั่งรอบอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ทุนพัฒนาศักยภาพการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่แบบ 2 ปี) | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | 2 พ.ค. 2561 – 1 พ.ค. 2563 (แบบ 2 ปี) |
7 | หัวหน้าโครงการ | การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลลีเล็ด อำเภอพุนพิน และองค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนาก อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) | 3 พ.ค. 2562 – 2 พ.ค. 2563 |
8 | ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย | การสร้างกลไกเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาย่านเมืองเก่าเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีเพื่อยกระดับคุณภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมสู่เมืองอัจฉริยะ (ทุนโครงการริเริ่มสำคัญ หรือ Flagship Project) | หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) | 15 พ.ค. 2563 – 14 พ.ค. 2564 |
9 | หัวหน้าโครงการ | การสร้างกลไกเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาย่านเมืองเก่าในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีสู่เมืองอัจฉริยะ | หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) | 15 พ.ค. 2563 – 14 พ.ค. 2564 |
10 | หัวหน้าโครงการ | การพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การส่งเสริมอาชีพโดยชุมชนเป็นฐานตำบลท่าเคย อำเภอท่าฉาง จังหวัด สุราษฎร์ธานี | สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา | 25 ส.ค. 2563 – 25 ก.พ. 2564 |
11 | หัวหน้าโครงการ | การสำรวจการปรับตัวของชุมชนวิถีใหม่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดระนอง และจังหวัดชุมพร โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) | 1 พ.ย. 2563 – 30 เม.ย. 2564 |
12 | หัวหน้าโครงการ | การพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้ (ไทยอารี) | สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | กำลังดำเนินการ ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2564 |
13 | หัวหน้าโครงการ | การลงพื้นที่ศึกษาศักยภาพเพื่อยกระดับการพัฒนาเชิงพื้นที่และแผนปฏิบัติงานวิจัยและนวัตกรรมประเด็นศิลปะและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นสู่ความยั่งยืนของเศรษฐกิจชุมชนฐานราก อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม | กำลังดำเนินการ ตั้งแต่ 29 ต.ค. 2564 – 28 เม.ย. 2565 |
14 | หัวหน้าโครงการ | การจัดการทุนทางวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสำนึกรักท้องถิ่นในพื้นที่ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี | หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) | กำลังดำเนินการ ตั้งแต่ 15 มี.ค. 2565 – 14 ก.พ. 2566 |
15 | ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย | การพัฒนาถนนแห่งการเรียนรู้และตลาดสินค้าท้องถิ่นเพื่อยกระดับเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีสู่เมืองแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนด้วยกลไกความร่วมมือเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน | หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) | กำลังดำเนินการ ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2565 – 2 มิ.ย. 2566 |
16 | หัวหน้าโครงการ | การศึกษาความเหมาะสมในการบริหารการจัดการพื้นที่บึงขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี | กำลังดำเนินการ ตั้งแต่ 2 มี.ค. 2565 – 28 ส.ค. 2565 |