สาขาวิชาการจัดการชุมชนท้องถิ่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรา พงษ์พานิช
ประธานหลักสูตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด
อาจารย์ ดร.ชนัญชิดา ทิพย์ญาณ
.
ระดับปริญญาโท
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการชุมชนท้องถิ่น
Master of Arts Program in Local Community Management
ชื่อปรัชญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการชุมชนท้องถิ่น)
Master of Arts (Local Community Management)
อักษรย่อปริญญา ศศ.ม. (การจัดการชุมชนท้องถิ่น)
M.A. (Local Community Management)
ปรัชญาของหลักสูตร
จัดการชุมชนท้องถิ่นให้เป็นสังคมธรรมาภิบาล บนฐานของวิถีความพอเพียง
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50 หากผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 2.50 ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณา
รูปแบบหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาโท หลักสูตร 1.5 ปี จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
แนวทางการศึกษาต่อ
มหาบัณฑิตสามารถศึกษาต่อในระดับปรัชญาเอกหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎี (ศศ.ด.) และปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ
ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชานี้ สามารถประกอบอาชีพ ดังนี้
- นักวิจัย นักวิชาการ
- นักพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
- นักจัดการชุมชนท้องถิ่น
- อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
- เจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการพัฒนา
- บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ประกอบอาชีพอิสระเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
ระดับปริญญาโท
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการชุมชนท้องถิ่น
Master of Arts Program in Local Community Management
ชื่อปรัชญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการชุมชนท้องถิ่น)
Master of Arts (Local Community Management)
อักษรย่อปริญญา ศศ.ม. (การจัดการชุมชนท้องถิ่น)
M.A. (Local Community Management)
ปรัชญาของหลักสูตร
จัดการชุมชนท้องถิ่นให้เป็นสังคมธรรมาภิบาล บนฐานของวิถีความพอเพียง
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน และมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.50 หากผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 2.50 ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณา
รูปแบบหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาโท หลักสูตร 1.5 ปี จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 39 หน่วยกิต
แนวทางการศึกษาต่อ
มหาบัณฑิตสามารถศึกษาต่อในระดับปรัชญาเอกหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎี (ศศ.ด.) และปริญญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ
ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชานี้ สามารถประกอบอาชีพ ดังนี้
- นักวิจัย นักวิชาการ
- นักพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
- นักจัดการชุมชนท้องถิ่น
- อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
- เจ้าหน้าที่ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการพัฒนา
- บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ประกอบอาชีพอิสระเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น